โรคนิ่ว นิ่วกระเพาะปัสสาวะ ปัสสาวะขัดและเป็นเลือด ฉี่บ่อยกะปริดกะปรอย โรคอ้วน ไขมันและคอลเลสเตอรอลสูง ระวังไขมันจะไปอุดตันในท่อถุงน้ำดี รู้สึกว่าป่วยต้องรีบรักษา อย่าปล่อยให้เป็นนิ่วก้อนใหญ่
โรคนิ่ว ในกระเพาะปัสสาวะ
“โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ” อย่าปล่อยให้ก้อนใหญ่ เมื่อมีอาการต้องรีบรักษา ผู้หญิงมีความเสี่ยงมากกว่าผู้ชายสูงกว่า 2 เท่า ส่วนใหญ่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ เนื่องจากช่วงนี้ฮอร์โมนเอสโตรเจน จะผลิตคอลเลสเตอรอลในถุงน้ำดีออกมาสูงขึ้น ทำให้ท่อถุงน้ำดีอุดตัน
ถุงน้ำดี ทำหน้าที่อะไร
ถุงน้ำดี ปกติจะทำหน้าที่ขับไขมันออกมาทางลำใส้เล็ก แต่ถ้ามีไขมันสะสมมากและจับรวมตัวกันเป็นก้อนใหญ่ ก็จะไปอุดตันในท่อถุงน้ำดีได้
โรคนิ่วมีกี่ชนิด
โรคนิ่วมี 2 ชนิด คือ นิ่วในถุงน้ำดีและนิ่วทางเดินปัสสาวะ แต่ส่วนใหญ่นิยมเรียกรวมๆ กันว่า “นิ่วระบบทางเดินปัสสาวะ” เมื่อเกิดขึ้นตรงตำแหน่งไหน ก็จะเรียกเป็นชื่อๆ ไป เช่น นิ่วในท่อปัสสาวะ นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ นิ่วในกรวยไต นิ่วท่อไต เป็นต้น
สาเหตุการเกิดโรคนิ่ว
โรคนิ่วเกิดขึ้นได้จากหลายปัจจัย เช่น
- พันธุกรรม คือ โรคนิ่วสามารถถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ได้ มีคนครอบครัวเป็นโรคนิ่ว ก็ทำให้มีโอกาสเป็นโรคนิ่วได้เช่นกัน
- เมตาบอลิซึมของร่างกายแต่ละคน คือ กระบวนการเผาผลาญทางเคมีที่ช่วยให้ร่างกายทำงานปกติ ซึ่งในแต่ละคนจะมีไม่เท่ากัน จึงส่งผลให้เกิดโรคนิ่วได้ในบางคน
- วิถีการใช้ชีวิต คือ การใช้ชีวิตแบบเร่งด่วนในแต่ละวัน ทำให้กินน้ำน้อย ปัสสาวะน้อยหรือกลั้นปัสสาวะ ทำให้มีตะกอนตกค้างเป็นผลึก รวมตัวกันเป็นก้อนผลึกใหญ่และแข็งเป็นโรคนิ่วได้
- อุปนิสัยในการบริโภค คือ ชอบกินอาหารจำพวกที่มีแคลเซียม ออกซาเลตฟอสเฟตหรือกรดยูริค สูงเกินไปจนร่างกายไม่สามารถขับออกมาได้
- การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ คือ ติดเชื้อประเภทกลุ่มแบคทีเรียที่สามารถผลิตสารยูเรียได้ จะทำให้เป็นนิ่วง่ายกว่า
- ยาบางชนิด คือ ยาจำพวกลดกรดยูริค เมื่อกินต่อเนื่องไปนานๆจำให้ปัสสาวะเป็นด่าง ทำให้ปริมาณฟอสเฟตสูง จนเกิดเป็นโรคนิ่วได้
การเกิดโรคนิ่ว
โรคนิ่วเกิดจากการที่มีสารก่อเกิดนิ่วในท่อทางเดินปัสสาวะมีปริมาณที่สูงกว่าสารยับยั้งการเกิดนิ่ว ร่วมกับปัจจัยดื่มน้ำมีตะกอน ปัสสาวะน้อย กลั้นปัสสาวะบ่อยๆ ส่งผลให้ตะกอนตกผลึกรวมตัวกันเป็นก้อนผลึกแข็ง มีขนาดใหญ่ อุดตันทำให้เกิดการอักเสบในท่อปัสสาวะได้
8 ปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วยโรคนิ่ว ได้แก่ :
- ผู้หญิงมีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป
- หญิงตั้งครรภ์
- โรคอ้วนหรือมีน้ำหนักตัวมากเกินไป
- รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
- กินอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง
- รับประทานอาหารที่มีกากใยอาหารต่ำ
- มีประวัติครอบครัวเป็นโรคนิ่ว
- ป่วยโรคเบาหวาน
วิธีรักษา โรคนิ่ว
การรักษาโรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะหรือนิ่วในกรวยไต ถ้าป่วยระยะเริ่มต้น ก้อนนิ่วยังไม่ใหญ่มากนัก ก็ต้องรีบรักษาโดยการรับประทานยาสลายก้อนนิ่ว แต่ถ้านิ่วก้อนใหญ่มากๆ ต้องรับการผ่าตัดทันที เพื่อไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ตามมา”สุขภาพดี อายุยืน โรคภัยไม่มี ดีที่สุด” ไม่อยากผ่าตัด ต้องหมั่นตรวจเช็คบ่อยๆ
วิธีป้องกัน โรคนิ่ว ที่ดีที่สุด
“โรคนิ่ว” โดยเฉพาะ นิ่วกระเพาะปัสสาวะ อย่ามองข้ามอันตราย สามารถเป็นกันได้ทุกคน ทั้งผู้หญิงและผู้ชายแต่ผู้หญิงมีโอกาสเป็นมากกว่าผู้ชาย ควรป้องกันไว้ก่อน โดยเฉพาะเลือกรับประทานอาหารที่มีกากไยอาหารมากๆ ดื่มน้ำสะอาดที่ไม่มีตะกอนหินปูน เช่น แคลเซียมออกซาเลต แมกนีเซียมแอมโมเนียมฟอสเฟต แคลเซียมฟอสเฟตและยูเรต อาหารที่มีธาตุตะกอนหินปูตต่างๆ เหล่านี้ จะเป็นตัวที่ก่อให้เกิดโรคนิ่ว
ข้อมูลอ้างอิง โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
ขายยาสลายก้อนนิ่วในท่อปัสสาวะ นิ่วในท่อกรวยไต
สนใจ “ยาสลายโรคนิ่ว” ในจุดตำแหน่งต่างๆ สอบถามได้ที่สถาบันแพทย์ทางเลือก 0891710545 รายละเอียดเพิ่มเติม
สั่งซื้อ ยาสลายนิ่วแคปซูล
สอบถามเพิ่มเติม Call Center 089-171-0545
line id : @sukanyathaig
https://www.facebook.com/sukanya.dung
สถาบันแพทย์ทางเลือก หมอปรียาภา
เลขที่ 40/6 ซ.วัชรพล ถ.รามอินทรา แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กทม